“ธนาคารโลก” หรือ “World Bank” ออกรายงาน “Taking the Pulse of Poverty and Inequality in Thailand” จำนวนเกือบร้อยหน้า โดยมีประเด็นสำคัญที่เราได้
ตั้งแต่มีการจัดเก็บและเผย
- ในไม่กี่ปีที่ผ่านมา ค่าเฉลี่ยรายได้ครัวเรือนทั
่วประเทศหยุดชะงักลง ไม่เติบโตขึ้น แต่ที่แย่กว่านั้นคือรายได้ ครัวเรือนในประชาชนที่มีราย ได้น้อยลดลงเข้าไปอีก - หลังรัฐประหาร ตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปี 2561 จำนวนอัตราคนจนในประเทศไทยเ
พิ่มขึ้นจาก 7.21% เป็น 9.85% ทำให้มีจำนวนประชากรที่อยู่ ในความยากจนถึง 6.7 ล้านคน (เพิ่มขึ้น 1.8 ล้านคน) - ก่อนหน้านี้ประเทศไทยเคยเจ
อสถานการณ์เช่นนี้มาแล้วในว ิกฤตต้มยำกุ้งปี 2540 และวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ปี 2551 - มี 61 จังหวัด จากทั้งหมด 77 จังหวัดที่มีตัวเลขผู้ที่อา
ศัยอยู่ในความยากจนเพิ่มขึ้ น โดยเป็นครั้งแรกที่ภาคใต้มี ตัวเลขอัตราความยากจนสูงที่ สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นในป ระเทศ - และผู้ที่อาศัยอยู่ต่างจัง
หวัดและในชนบท มีอัตราความยากจนสูงกว่าคนก รุงเทพฯ และกราฟมีแนวโน้มถ่างขึ้นเร ื่อยๆ - ปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อก
ารเพิ่มขึ้นของประชากรไทยที ่อาศัยอยู่ในความยากจนคือ 1.อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิ จที่ช้าลง และช้าที่สุดในภูมิภาคเมื่อ เทียบกับประเทศระดับเดียวกั น 2.การส่งออกที่ลดลงจากสถานก ารณ์การค้าโลก 3.ภัยแล้งและน้ำท่วม 4.ภาคท่องเที่ยวที่เริ่มเหื อดหายไป - ในรายงานยังกล่าวถึงกลุ่มค
นในมิติทางสังคม เศรษฐกิจ และถิ่นที่อยู่ ของผู้ที่มีความเสี่ยงได้รั บผลกระทบและอาศัยอยู่ในความ ยากจน อีกทั้งยังกล่าวถึงรายละเอี ยดข้อเสนอแนะเพื่อให้ทางการ ไทยนำไปดำเนินการ และมีมาตรการเป็นชิ้นเป็นอั นในการแก้ไขปัญหาความยากจน - ยังมีข้อมูลสถิติและข้อสัง
เกตอีกจำนวนมากที่ไม่ได้กล่ าวไว้ ณ ทีนี้ เราแนะนำให้คุณเข้าไปอ่านด้ วยตัวเอง! - หมายเหตุ: รายงานนี้ทำการเก็บสถิติตัว
เลขก่อนเกิดเหตุการณ์การแพร ่ระบาดของ Covid-19 ซึ่งคาดการณ์กันว่าได้ส่งผล กระทบในวงกว้างต่อสังคมและเ ศรษฐกิจทั่วโลก จึงอาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อต ัวเลขอัตราความยากจนของไทยด ้วย